วารสารการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

Journal of Politics and Governance

 

ปีที่ 9 ฉบับที่ 3
(Volume.9 Issue.3)
  ประจำเดือนกันยายน – ธันวาคม 2562
(September – December 2019)


ประชาธิปไตยจากฐานรากและความร่วมมือหลายภาคส่วน


Democracy from Below and Cross – Sector Collaboration

 

 


 

หน้าปก(cover)
ส่วนหน้า
บทบรรณาธิการ
สารบัญ
การวิเคราะห์การสร้างพลเมืองเพื่อเสริมสร้างประชาธิปไตยจากฐานราก : กรณีศึกษาโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองมหาสารคาม(Civic Education for Strengthening Democracy from Below : A case study of schools in Mahasarakham municipality) 1
ศราวุฒิ วิสาพรม วชิรวัตติ์ อาริยะสิริโชติ และ วนิดา เสาสิมมา
จักรกลความปรารถนาของกลุ่มคนเสื้อแดง :การเชื่อมต่อความหมายทางการเมืองกับกรณี“ระบอบ-ทักษิณ”(The Desiring Machine of Red Shirt Groups: The Assemblage of Political Meanings with the case of “Thaksin-Regime”) 24
สินธุชัย ศุกรเสพย์
แนวทางในการจัดการมรดกทางวัฒนธรรมโดยความร่วมมือของภาคส่วนต่างๆในท้องถิ่น :กรณีศึกษาการจัดการสิมและฮูปแต้ม ตำบลดงบัง อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม (Guidelines for collaborative cultural heritage governance: A case study of Sim and Hoop Taem governance at Dong Bung Sub-District, Na Dun District, Maha Sarakham Province”) 55
สุนทรชัย ชอบยศ
การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการป่าชุมชนบ้านป่าซางวิวัฒน์ตำบลนางแล อำเภอเมืองจังหวัดเชียงราย(Community Participation in Community Forest Management in Baan Pa Sang Wiwat, Tambon Nanglae, Muang District, Chiang Rai Province) 71
ทศพล พงษ์ต๊ะ กอบกุลณ์ คำปลอด และ ยุทธศาสตร์ หน่อแก้ว
กระบวนการสร้างกลไกการจัดการทรัพยากรร่วมของชุมชนโดยใช้ข้อบัญญัติท้องถิ่น(Process of Creating Local Ordinances as a Community Resource Management Mechanism) 95
นิยม ยากรณ์ กฤษฎา บุญชัย และ ทัชชวัฒน์ เหล่าสุวรรณ
ผลกระทบจากแนวทางการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่:กรณีศึกษาอำเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร ประเทศไทย(The Impact of the Development of Special Border Economic Zone on the Well – Being of Residents Residing in the Area: A Case Study of Dontan, Mukdahan, Thailand) 114
ปภาดา ถ่อเงิน และ วิษณุ สุมิตสวรรค์
แนวทางการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ กรณีศึกษาจังหวัดหนองคาย(The Development of Special Economic Zone: A Case Study of Nong Khai Province) 131
โศจิรัตน์ เติมศิลป์ และ ประชาสรรค์ แสนภักดี
การพัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานในระบบอุตสาหกรรมอ้อยน้ำตาลทราย และอุตสาหกรรมต่อเนื่อง(Human Resource Development for Working Competency in Sugar Cane, Sugar, and Continuous Industries1) 146
สมบูรณ์ ศิริสรรหิรัญ ภัทร์ พลอยแหวน สมศักดิ์ อมรสิริพงศ์ อาชว์ภูริช น้อมเนียน กฤษณ์ รักษชาติเจริญ และ วุฒิชัย อารักษ์โพชฌงค์
การบูรณาการการใช้ภูมิปัญญาเจ้าโคตรของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยลาว ผู้ไทย และกะเลิง สู่บทบาทหน้าที่ของผู้นำชุมชนและการควบคุมทางสังคมของชุมชนในภาคอีสาน(Integrating the seniors’ wisdom of the Thai Laos Phutai and Kalerng ethnic groups to the roles of community leaders and social control in Isan) 168
บุญจันทร์ ทิพชัย และ สมชาย ลำดวน
ปลาร้า – ปลาแดก : การสื่อสารและผลิตซ้ำความหมาย “มิตรภาพ” ในความสัมพันธ์ไทย – ลาว(Pickled fish: Communication and Reproduction of meanings of friendship in Thai – Lao Relations) 187
นิลุบล ไพเราะ
การบริการสาธารณะแนวใหม่กับความสอดคล้องของวัฒนธรรมไทย(New Public Service in Accordance with Thai Culture) 219
สรัญพัทธ์ เอี๊ยวเจริญ และ กุลสกาวว์ เลาหสถิตย์
การอ้างอิงและการเขียนรายการบรรณานุกรมตามรูปแบบ APA ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 6(The citation and reference according to APA style, 6th edition) 233
กวินทร์ พิมจันนา
การบริหารจัดการบนฐานความร่วมมือ : ฐานรากนวัตกรรมท้องถิ่น(Local Innovation through Collaborative Governance) 249
ไชยมนู กุนอก
ตัวอย่างการเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม 253
ใบสมัครสมาชิก 261

Loading